รศ.ดร. ยงยุทธ แฉล้มวงษ์
สถาบันวิจัยเพื่อการพั ฒนาประเทศไทย
เมื่อใกล้ถึงวันแรงงานก็มีเสี ยงเรียกร้องจากตั วแทนภาคแรงงานขอขึ้นค่าจ้างขั้ นต่ำ(ตามสัญญา)อีกแล้วครั บคำถามก็คือถึงเวลาที่ค่าจ้ างของลูกจ้างเอกชนหลังจากแช่แข็ งมาแล้ว 3 ปีควรจะขึ้นได้หรือยัง ที่จริงคงยังจำกันได้ว่ าคณะกรรมการค่าจ้างแห่งชาติได้ ขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำ 300 บาทเท่ากันทั่วประเทศ ตั้งแต่ต้นปี 2556 หลังจากทดลองขึ้นเฉพาะ 7 จังหวัดที่มีฐานะทางเศรษฐกิจที่ ดีเมื่อกลางปี 2555 โดยขอแช่แข็งค่าจ้างขั้นต่ำ ไปอีก 3ปี แต่ถึงแม้ว่าค่าจ้างขั้นต่ำไม่ ได้เพิ่มขึ้นแต่ค่าจ้ างของแรงงานก็ยังเพิ่มอยู่ดี ตามการขึ้นค่าจ้างประจำปี เช่น
จากข้อมูลการสำรวจการมี งานทำของประชากรไตรมาส 3 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติพบว่ าค่าจ้างเฉลี่ยจะยังคงเพิ่มขึ้ นทุกปี โดยเฉพาะช่วงปี 2556 ถึง 2557 เพิ่มขึ้นถึง 11.5% สำหรับแรงงานโดยทุกกลุ่มอายุ ขณะที่แรงงานวัย 20-24 ปี ซึ่งส่วนใหญ่เป็นแรงงานทำงานได้ ไม่นาน เงินเดือนเพิ่มขึ้น 9.7% เช่นกัน สาเหตุที่เพิ่มขึ้นค่อนข้างสู งทั้งแรงงานโดยรวมและแรงงานใหม่ ก็เนื่ องจากสถานประกอบการจำนวนมากยั งขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำให้ แรงงานแรกเข้ายังไม่ครบ จึงทยอยปรับขึ้นค่าจ้างค่อนข้ างมาก
อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาค่าจ้ างเฉลี่ยของปี 2557 ถึง 2558 หลังสิ้นสุดข้อตกลงแช่แข็งค่าจ้ างขั้นต่ำจะพบว่าค่าจ้างกลั บมาสะท้อนความเป็นจริ งของภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ผลก็คือ ในภาพรวมทุกอายุค่าจ้างเฉลี่ ยเพิ่มขึ้นเพียง 1.7% และกลุ่มแรงงานใหม่อายุ 20-24 ปี เพิ่มขึ้นเพียง 0.7% เท่านั้น แต่ถ้าพิจารณาจากกลุ่มอายุ 15-19 ปี บางส่วนยังทำงานไม่เต็มที่ ตามกฎหมาย ทำให้ค่าจ้างรายวันเฉลี่ยยังต่ ำกว่า 300 บาท เนื่องจากใช้เงินเดือนหารด้วย 26 วันเหมือนกับกลุ่มอายุอื่นๆ
สิ่งที่พอจะเห็นได้จากข้อมูลชุ ดนี้คือ ค่าจ้างปี 2556-57 ยังเพิ่มขึ้นถึง 8.3% เป็นไปในทิศทางเดียวกันกับกลุ่ มอายุอื่นๆ แม้แต่ปี 2557-58 อัตราเงินเดือนเพิ่มขึ้นเพียง 0.3% เท่านั้น ซึ่งเป็นไปตามกติกาเดิม คือ จะไม่ขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำจนกว่ าจะถึงปี 2559 อย่างไรก็ตาม วันแรงงานปี 2558 จนถึงปลายปี 2558 กลุ่มตัวแทนสหภาพทางเลื อกเคยขอให้ขึ้นค่าจ้างเป็น 360 บาทเท่ากันทั่วประเทศ ตามเงื่อนไขเดิมตั้งแต่ต้นปี 2559 แต่ยังไม่ได้รับการตอบสนองจากรั ฐบาลผ่านคณะกรรมการค่าจ้างแห่ งชาติเมื่อต้นปี 2559 ขอให้ชะลอการขึ้นค่าจ้างขั้นต่ ำสำหรับแรงงานแรกเข้า เนื่องจากสาเหตุหลักๆ มาจากสภาพทางเศรษฐกิ จโดยเฉพาะการส่งออกและการขยายตั วของ GDP ยังอยู่ในระดับต่ำ กำลังผลิตด้านอุตสาหกรรมยังอยู่ ในระดับต่ำเพียง 60% เศษเท่านั้นเป็นต้น (ดูตารางที่ 1 ประกอบ)
ตารางที่ 1 ค่าจ้างเฉลี่ยของลูกจ้างเอกชน
ค่าจ้างของลูกจ้างเอกชน
| |||
รวมทุกอายุ
|
บาท/เดือน
|
บาท/วัน
|
Y-O-Y (%)
|
2556
|
10,539
|
418
|
11.5
|
2557
|
11,755
|
452
|
1.7
|
2558
|
11,956
|
460
| |
อายุ 20-24 ปี
| |||
2556
|
8,363
|
321
|
-
|
2557
|
9,153
|
352
|
9.4
|
2558
|
9,221
|
355
|
0.7
|
อายุ 15-19 ปี
| |||
2556
|
6,511
|
250
|
-
|
2557
|
7,052
|
271
|
8.3
|
2558
|
7,075
|
272
|
0.3
|
ที่มา: NSO การสำรวจการมี งานทำของประชากรไตรมาส3
อย่างไรก็ตาม เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2559 มีข้อเสนอจากมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทยมีข้อเสนอต่อรัฐบาล ควรพิจารณาขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำ 5-7% แต่ให้ขึ้นไม่เท่ากันในแต่ละพื้ นที่
จากเหตุผลดังกล่าว ผู้เขียนเห็นว่าถึงเวลาที่จะต้ องพิจารณากันอย่างจริงจังว่าถึ งเวลาที่ต้องขึ้นค่าจ้างขั้นต่ ำหรือยังโดยต้องพิจารณาปัจจัยด้ านบวกและด้านลบให้รอบคอบก่ อนจะพิจารณาขึ้นค่าจ้างขั้นต่ ำอีกครั้ง ดังนี้
ปัจจัยด้านบวก
|
ปัจจัยด้านลบ
|
1. แรงงานมีเงินจับจ่ายใช้สอยมากขึ
|
1. เป็นภาระของนายจ้างถึงแม้
- กระทบความสามารถในการแข่งขั
- กระทบ microenterprises ซึ่งยังปรับตัวไม่ได้บางส่วนยั
|
2. อัตราเงินเฟ้ออยู่ในระดับต่
| |
3. ชดเชยค่าครองชีพ ซึ่งน่าจะเพิ่มขึ้นทุกปี ถึงแม้ว่าค่าจ้างขั้นต่ำถูก แช่แข็งอยู่ถึง 3 ปี (ประเด็นอยู่ที่ว่าค่าจ้างขึ้
|
2. ราคาสินค้าอุปโภค/บริโภค ที่อยู่นอกข่ายควบคุมของรั
|
4. อัตราการว่างงานอยู่ในระดับต่
|
3. อาจจะมีผลส่งต่อไปถึงพื้นที่
|
4. เศรษฐกิจไทยยังอยู่ในช่
| |
5. เราช่วยคนที่เป็นแรงงานในระบบ 9 ล้านคน แต่ผลกระทบไปถึ
| |
6. ผู้ประกอบการที่แข็งแรงขึ้นค่
|
กล่าวโดยสรุปก็คือ เมื่อพิจารณาจากข้อดีข้อเสียข้ างต้นก็พอจะตัดสินใจได้ว่า
1. สำหรับปี 2559 เห็นด้วยบางส่วนกับข้ อเสนอของมหาวิทยาลัยหอการค้ าไทยที่จะให้ขึ้นค่าจ้างขั้นต่ ำประมาณ 5-7% แต่ไม่ขึ้นทั่วประเทศ กล่าวคือ เห็นด้วยกับการขึ้นค่าจ้างขั้ นต่ำแต่ผู้เขียนต้องการให้ขึ้ นเพียง 7 จังหวัดที่เคยขึ้นไปเมื่อกลางปี 2555 ก่อนเช่น 15 บาท แล้วอาศัยข้อมู ลของการสำรวจของสำนักงานปลั ดกระทรวงแรงงาน (คณะกรรมการค่าจ้าง) พิจารณาขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำในจั งหวัดที่มีค่าครองชีพสูง เช่น จังหวัดที่เป็นแหล่งท่องเที่ ยวของต่างชาติมากๆ นอกเหนือจาก “ภูเก็ต” เช่น พัทยา (ชลบุรี) และเชียงใหม่ เป็นต้นให้มีการปรับขึ้นค่าจ้ างขั้นต่ำตามค่าครองชีพได้แต่ต้ องปรึกษาคณะกรรมการค่าจ้างจั งหวัดด้วย
2. สำหรับปี 2560 คณะกรรมการค่าจ้างก็พิจารณาขึ้ นค่าจ้างขั้นต่ำไปเลยโดยอัตโนมั ติจากฐานค่าจ้างเดิมของปี 2559 เช่น จังหวัดมุกดาหารมีดัชนีค่ าครองชีพ 3% จากฐาน 300 บาทค่าจ้างขั้นต่ำปี 2560 ก็คือ 309 บาท
3. สถานประกอบการตั้งแต่ ขนาดกลางและใหญ่ทุกแห่งกฎหมายต้ องบังคับให้มีโครงสร้างค่าจ้ างตั้งแต่ปี 2560 เป็นต้นไปเพื่อมิให้ สถานประกอบการเอาเปรียบลูกจ้ างโดยอาศัยค่าจ้างขั้นต่ำเป็ นบรรทัดฐานในการขึ้นค่าจ้ างประจำปี
ข้อเสนอที่กล่าวมามีเจตนารมณ์ แต่เพียงต้องการให้พิจารณาปัจจั ยแวดล้อมตามกฎหมายค่าจ้างขั้นต่ ำให้ครบถ้วนรอบคอบทุกคนทราบดีว่ าค่าจ้างขั้นต่ำอยู่บนพื้ นฐานของไตรภาคีซึ่งถ้าไม่มี การเมืองเข้ามาแทรกทุกฝ่ ายเจรจาอยู่บนพื้นฐานของข้อมู ลที่เชื่อถือได้เหมือนกั นเคารพในศักดิ์ศรีซึ่งกันและกั นรับรองได้ว่าปี 2559 ตกลงเรื่องค่าจ้างขั้นต่ำได้แน่ นอน
ไม่มีความคิดเห็น :
แสดงความคิดเห็น